เกี่ยวกับซีพีเอฟ
เกี่ยวกับซีพีเอฟ
ซีพีเอฟดำเนินธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารแบบครบวงจร เพื่อนำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพบนมาตรฐานการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและกระบวนการทำงานที่รับผิดชอบต่อสังคมโดยรวม
เกี่ยวกับซีพีเอฟ
สำหรับบุคลากร
แผนที่การลงทุน
บริษัทมีการลงทุนและร่วมลงทุนใน 17 ประเทศ ส่งออกไปกว่า 40 ประเทศ ใน 5 ทวีปทั่วโลก ครอบคลุมประชากรกว่า 4 พันล้านคน
ธุรกิจ
ธุรกิจ ซีพีเอฟ
ซีพีเอฟมุ่งมั่นนำเสนอผลิตภัณฑ์คุณภาพที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาดถูกสุขอนามัย ปลอดภัย และตรวจสอบย้อนกลับได้
ภาพรวมธุรกิจ
ทุกคำมีความหมาย เพื่อทุกชีวิตที่ยั่งยืน
บรรษัทภิบาล
บรรษัทภิบาล
พัฒนาการความสำเร็จอย่างต่อเนื่อง โดยสามารถบรรลุเป้าหมายการเติบโต ทางธุรกิจและเติมเต็มความมุ่งมั่นที่จะสร้างคุณค่าร่วมในระยะยาวอย่างยั่งยืน ไปพร้อมกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน
สารถึงผู้ถือหุ้น
บริษัทยังคงพยายามอย่างเต็มกำลังในการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์กร เพื่อเป้าหมายการเติบโตอย่างต่อเนื่อง
นักลงทุนสัมพันธ์
นักลงทุนสัมพันธ์
บริษัทมุ่งเน้นที่จะสร้างผลตอบแทนด้วยความใส่ใจให้แก่ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน อันจะนำไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
นักลงทุนสัมพันธ์
ติดต่อนักลงทุนสัมพันธ์
ความยั่งยืน
ความยั่งยืน
เพื่อเสริมสร้าง “ศักยภาพและโอกาสการเติมโต“ สู่ “การสร้างคุณค่าร่วมกับทุกภาคส่วน“
ซีพีเอฟกับความยั่งยืน
ซีพีเอฟกับความยั่งยืน
ซีพีเอฟขับเคลื่อนธุรกิจบนหลักความรับผิดชอบต่อสังคมสู่ความยั่งยืนภายใต้ 3 เสาหลัก “อาหารมั่นคง สังคมพึ่งตน และดินน้ำป่าคงอยู่“
สื่อเผยแพร่
สื่อเผยแพร่
ศูนย์ข่าวสารซีพีเอฟ นำเสนอเรื่องราวครอบคลุมทั้งความยั่งยืน นวัตกรรม ข่าวสารอุตสาหกรรม และกิจกรรมอื่นๆ
สื่อเผยแพร่
สื่อเผยแพร่
ติดตามข่าวสารล่าสุด และเรื่องราวดีๆ จากซีพีเอฟได้ที่นี่
19 พ.ค. 2557
อาหารทะเลและประมงไทยในยุโรปสดใสหรือน่าห่วง โดย ดร.อาจารี ถาวรมาศ
สินค้าอาหารทะเลและประมง กุ้งแช่แข็ง กุ้งแปรรูป หรือปลาทูน่ากระป๋อง ถือเป็นสินค้าส่งออกประเภทเกษตรและอาหาร ที่สำคัญของไทย โดยมีตลาดยุโรปเป็นตลาดหลัก โดยผู้บริโภคยุโรปยังใส่ใจประเด็นด้านสังคม การใช้แรงงาน และการรักษาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งธรรมาภิบาลในการดำเนินธุรกิจ... ทั้งนี้ พิมพ์ชนก วอนขอพร ผู้ช่วยทูตฝ่ายการพาณิชย์ กล่าวว่าการเจรจาเอฟทีเอ ไทย-อียู เป็นทางออกเดียวที่จะเยียวยากุ้งแช่แข็งจากการถูกจัดสิทธิ GSP โดยต้องมีการเจรจาเพื่อเปิดตลาดและลดอัตราภาษีสำหรับสินค้าอาหารทะเลและประมงสำคัญของไทย ไม่ว่าจะเป็นกุ้ง ปลาทูน่า ให้ต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และให้มีการปรับใช้ภาษีต่ำ (กว่า MFN rate) ภายใต้เอฟทีเอให้เร็วที่สุด เพื่อรักษาตลาดและประกันอนาคตที่สดใสของอุตสาหกรรมอาหารทะเลและประมงไทยในยุโรปไว้ได้
อ้างอิง : นสพ.กรุงเทพธุรกิจ
กิจกรรมอื่น ๆ
cpfworldwide.com ใช้คุกกี้บนเว็บไซต์นี้เพื่อการบริหารเว็บไซต์ และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานของท่าน (เรียนรู้เพิ่มเติม)
x